หลักสูตร การบริหารการผลิต ( Production Management Program ) (9)
หลักสูตร การบริหารการผลิต ( Production Management Program )
เราคงไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าในการทำงานทุกวันนี้ เราย่อมพบกับปัญหาเป็นประจำ ผู้ปฏิบัติงานทุกคน ทุกระดับ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง มีความรู้ ความเข้าใจ ในการวินิจฉัย ตัดสินใจ สั่งการ เพื่อแก้ไขปัญหา ให้สำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมาย โดยเฉพาะระดับหัวหน้างานเพราะการวินิจฉัยตัดสินใจสั่งการดังกล่าว จะมีผลต่อพนักงานระดับปฏิบัติการ การตัดสินใจที่รวดเร็วและถูกต้อง ทันเวลา ย่อมส่งผลดีให้กับผู้ปฏิบัติงาน เป็นการเสริมสร้างศรัทธาต่อผู้ร่วมงาน ดังนั้น หัวหน้างานจะต้องฝึกฝนเรียนรู้ โดยอาศัยทั้งประสบการณ์ และการนำข้อมูลมา ประกอบการพิจารณาเพื่อการวิเคราะห์ในการค้นหาทางเลือกต่างๆ เพื่อการตัดสินใจที่รวดเร็ว ถูกต้อง และเหมาะสม ต่อไป
หลักการและเหตุผล
ความสูญเปล่า (Muda) ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในกระบวนการผลิตเท่านั้น กิจกรรมที่เกิดขึ้นในสำนักงานที่ทำอยู่ประจำทุกวัน ก็มีความสูญเปล่าแอบแฝงอยู่เป็นจำนวนมาก ความสูญเปล่าเหล่านี้มีผลทำให้เกิดค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็น และมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนักงาน ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์หรือไม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่ม/คุณค่างาน (Non-Value Added) ซึ่งล้วนแต่ส่งผลเสียให้กับองค์กร
ดังนั้น องค์กรจะต้องดำเนินการปรับปรุงอย่างเร่งด่วน โดยการนำหลักการ “ไคเซ็นในสำนักงาน” (Kaizen in Office) มาเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติใช้โดยให้พนักงานทุกคนมีส่วนร่วมในการปรับปรุงงาน หรือสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว ทีละเล็ก ทีละน้อย อย่างต่อเนื่อง (ไคเซ็น) แต่ผลที่ได้จะสะสมเกิดผลลัพธ์ที่ยิ่งใหญ่ และจะส่งผลให้พนักงานทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถลดต้นทุนด้วยการลดความสูญเปล่าในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิผล
หลักการและเหตุผล
ในกระแสการแข่งขันที่รุนแรงในเชิงธุรกิจ ความผันผวน หรือสภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจของประเทศ และของโลก อีกทั้งลูกค้ามีโอกาสเลือกในสิ่งที่ดีกว่า ราคาถูกกว่าเสมอ ทำให้เกิดผลกระทบกับการบริหารจัดการต้นทุน หรือต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จากสาเหตุที่ต้องสูญเสียพลังงาน วัตถุดิบ และหรือทรัพยากรอื่น ๆ ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการใช้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ ไม่คุ้มค่า หรือใช้มากเกินความจำเป็น
ดังนั้น องค์กรจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องปรับตัว หรือเตรียมความพร้อม ในการรองรับปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ โดยการเพิ่มศักยภาพ/ขีดความสามารถในการแข่งขันให้แก่องค์กร ทั้งนี้ การลดต้นทุนในองค์กร โดยเฉพาะการลดและกำจัดความสูญเสีย (Weste) หรือความสูญเปล่า (Muda) ที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ หรือ ไม่เพิ่มคุณค่างาน (Non-Value Added) ในสถานที่ทำงาน จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยนำพาองค์กรให้ดำเนินธุรกิจไปถึงเป้าหมาย/ความสำเร็จอันสูงสุด คือผลกำไรได้
หลักการและเหตุผล
ในกระแสการแข่งขันที่รุนแรงในเชิงธุรกิจ ความผันผวน หรือสภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจของประเทศ และของโลก อีกทั้งลูกค้ามีโอกาสเลือกในสิ่งที่ดีกว่า ราคาถูกกว่าเสมอ ทำให้เกิดผลกระทบกับการบริหารจัดการต้นทุน หรือต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จากสาเหตุที่ต้องสูญเสียพลังงาน วัตถุดิบ และหรือทรัพยากรอื่น ๆ ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการใช้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ ไม่คุ้มค่า หรือใช้มากเกินความจำเป็น
ดังนั้น องค์กรจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องปรับตัว หรือเตรียมความพร้อม ในการรองรับปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ โดยการเพิ่มศักยภาพ/ขีดความสามารถในการแข่งขันให้แก่องค์กร ทั้งนี้ การลดต้นทุนในองค์กร โดยเฉพาะการลดและกำจัดความสูญเสีย (Weste) หรือความสูญเปล่า (Muda) ที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ หรือ ไม่เพิ่มคุณค่างาน (Non-Value Added) ในสถานที่ทำงาน จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยนำพาองค์กรให้ดำเนินธุรกิจไปถึงเป้าหมาย/ความสำเร็จอันสูงสุด คือผลกำไรได้
เครื่องมือที่ช่วยในการบริหารจัดการที่จะสร้างผลกำไรตัวหนึ่งที่นิยมใช้กันอย่างมีประสิทธิผล คือ ไคเซ็น (Kaizen) ซึ่งหมายถึง การปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่องทีละเล็กละน้อย โดยพนักงานทุกคนมีส่วนร่วม ซึ่งหากทุกหน่วยงาน นำวิธีการที่ถูกต้องไปปฏิบัติใช้อย่างจริงจังแล้วก็เชื่อแน่ว่าจะประสบผลสำเร็จทางธุรกิจ และมีผลกำไรอย่างแน่นอน
ในสถานประกอบกิจการหรือโรงงานอุตสาหกรรม เราคงไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าในการทำงานทุกวันนี้ เราย่อมพบกับปัญหาเป็นประจำ โดยเฉพาะการผลิตสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือการพบปัญหาของเสีย (Defect) หรือความบกพร่องที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต ส่งผลให้เกิดความสูญเปล่า และต้นทุนสูง ผู้ปฏิบัติงานทุกคน ทุกระดับ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการวิเคราะห์ปัญหา และการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิผล เพื่อลดต้นทุนการผลิตและความสูญเปล่าให้สามารถแข่งขันได้
หลักการและเหตุผล
ในกระแสการแข่งขันที่รุนแรงในเชิงธุรกิจ ความผันผวน หรือวิกฤตทางเศรษฐกิจของประเทศ และ ของโลก ปัญหาราคาน้ำมัน อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตรา หรือค่าเงิน ระบบการค้าเสรี อีกทั้งลูกค้ามีโอกาสเลือกในสิ่งที่ดีกว่า ราคาถูกกว่า ทำให้เกิดผลกระทบกับการบริหารจัดการต้นทุน หรือต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จากสาเหตุที่ต้องสูญเสียพลังงาน วัตถุดิบ และหรือทรัพยากรอื่น ๆ ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการใช้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ ไม่คุ้มค่า หรือใช้มากเกินความจำเป็น หรืออื่น ๆ ดังนั้น องค์กรจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องปรับตัว หรือเตรียมความพร้อม ในการรองรับปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ โดยการเพิ่มศักยภาพ/ขีดความสามารถในการแข่งขันให้แก่องค์กร นำพาองค์กรให้ดำเนินธุรกิจไปถึงเป้าหมาย/ความสำเร็จอันสูงสุด(กำไร) ทั้งนี้ การลดต้นทุนในองค์กร โดยเฉพาะการลดและกำจัดความสูญเสีย (Westes) หรือความสูญเปล่า (Muda) ที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ หรือไม่เพิ่มคุณค่างาน (Non-Value Added) ในกระบวนการผลิต จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยเพิ่มผลกำไร และหรือรักษาดุลยภาพให้องค์กรรอดพ้นจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจได้
หลักการและเหตุผล
ในกระแสการแข่งขันที่รุนแรงในเชิงธุรกิจ ความผันผวน หรือวิกฤตทางเศรษฐกิจของประเทศ และ ของโลก ปัญหาราคาน้ำมัน อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตรา หรือค่าเงิน ระบบการค้าเสรี อีกทั้งลูกค้ามีโอกาสเลือกในสิ่งที่ดีกว่า ราคาถูกกว่า ทำให้เกิดผลกระทบกับการบริหารจัดการต้นทุน หรือต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จากสาเหตุที่ต้องสูญเสียพลังงาน วัตถุดิบ และหรือทรัพยากรอื่น ๆ ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการใช้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ ไม่คุ้มค่า หรือใช้มากเกินความจำเป็น หรืออื่น ๆ ดังนั้น องค์กรจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องปรับตัว หรือเตรียมความพร้อม ในการรองรับปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ โดยการเพิ่มศักยภาพ/ขีดความสามารถในการแข่งขันให้แก่องค์กร ทั้งนี้ การลดต้นทุนในองค์กร โดยเฉพาะการลดและกำจัดความสูญเสีย (Westes) หรือความสูญเปล่า (Muda) ที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ หรือไม่เพิ่มคุณค่างาน (Non-Value Added) ในสถานที่ทำงาน จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยนำพาองค์กรให้ดำเนินธุรกิจไปถึงเป้าหมาย/ความสำเร็จอันสูงสุด หรือเพิ่มผลกำไรได้
หลักการและเหตุผล
ในสถานการณ์ปัจจุบันต้นทุนเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำเนินธุรกิจ เนื่องจากสภาวะการแข่งขันสูง ประกอบกับวัตถุดิบต่างปรับตัวขึ้นราคากันอย่างถ้วนหน้า และอื่นๆ ในขณะที่องค์กรไม่สามารถเพิ่มกำไรโดยการเพิ่มราคาขายสินค้าได้ ดังนั้น การมุ่งเน้นที่จะสร้างกำไรให้กับองค์กรได้ จึงมีแนวทางเดียว คือการลดต้นทุน แต่ยังคงไว้ซึ่งคุณภาพ เพื่อมิให้เกิดผลกระทบกับลูกค้า เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน และเพิ่มผลกำไรสูงสุดให้แก่องค์กร แต่การลดต้นทุนจำเป็นต้องใช้เทคนิคและการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ อันจะนำมาซึ่งการเพิ่มผลผลิตที่เหมาะสมทั้งประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ในการดำเนินธุรกิจของบริษัท ต่อไป
หลักการและเหตุผล
ในกระแสการแข่งขันที่รุนแรงในเชิงธุรกิจ ความผันผวน หรือวิกฤตทางเศรษฐกิจของประเทศ และ ของโลก ปัญหาราคาน้ำมัน อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตรา หรือค่าเงิน ระบบการค้าเสรี อีกทั้งลูกค้ามีโอกาสเลือกในสิ่งที่ดีกว่า ราคาถูกกว่า ทำให้เกิดผลกระทบกับการบริหารจัดการต้นทุน หรือต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จากสาเหตุที่ต้องสูญเสียพลังงาน วัตถุดิบ และหรือทรัพยากรอื่น ๆ ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการใช้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ ไม่คุ้มค่า หรือใช้มากเกินความจำเป็น หรืออื่น ๆ ดังนั้น องค์กรจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องปรับตัว หรือเตรียมความพร้อม ในการรองรับปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ โดยการเพิ่มศักยภาพ/ขีดความสามารถในการแข่งขันให้แก่องค์กร นำพาองค์กรให้ดำเนินธุรกิจไปถึงเป้าหมาย/ความสำเร็จอันสูงสุด(กำไร) ทั้งนี้ การลดต้นทุนในองค์กร การประหยัดค่าใช้จ่าย โดยเฉพาะการลดและกำจัดความสูญเปล่า(เสีย) หรือ Muda ที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ หรือไม่เพิ่มคุณค่างาน (Non-Value Added) จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยเพิ่มผลกำไร และหรือรักษาดุลยภาพให้องค์กรรอดพ้นจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจได้ ทั้งยังเป็นการกระตุ้นให้พนักงานเกิดจิตสำนึก หรือตระหนัก ให้ความสำคัญกับการค้นหา การลดและกำจัดความสูญเปล่า (เสีย) ที่เกิดขึ้นในหน่วยงานของตน แบบยั่งยืน อีกด้วย